วันเสาร์, 20 เมษายน 2567

สถานที่ท่องเที่ยวพิจิตร

วัดท่าฬ่อ อ.เมืองพิจิตร

       วิหารหลังเก่า เป็นอาคารทรงไทยขนาด ๓ ห้อง หน้าบันตอนบนประดับด้วยพระพุทธรูปปางประทานพร ประทับยืนบนดอกบัว บนพื้นสีฟ้าแวดล้อมด้วยลายไทย เครื่องบนประดับช่อฟ้าระกาหางหงส์ นาคสะดุ้ง มีประตูทางเข้าทั้งด้านหน้าและด้านหลังของอาคาร ปัจจุบันตัวอาคารได้รับการบูรณะแล้ว ภายในประดับจิตรกรรมฝาผนังทั้งสี่ด้าน มีซุ้มระฆังทั้งซ้ายขวา อยู่ภายในกำแพงแก้ว พื้นที่ด้านข้างติดบ้านเรือนราษฎรที่ผนังบริเวณประตูทางเข้าด้าน หน้

วัดถ้ำชาละวัน อ.เมืองพิจิตร

       ลักษณะเด่น วัดถ้ำชาละวัน หมู่ที่ ๑ ตำบลคลองคะเชนทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร ๖๖๐๐๐ โดยมี พระอธิการสมมาส อานนฺโท วุฒิการศึกษา พธ.บ.  ตำแหน่งเจ้าอาวาสถ้ำชาละวันถ้ำชาละวันสันนิษฐานว่าอยู่กลางแม่น้ำน่านเก่า ทางลงปากถ้ำเป็นโพรงลึกเป็นรูปวงกลม ขนาดพอดีที่จระเข้ขนาดใหญ่มากเข้าได้อย่างสบาย คนรุ่นเก่าได้เล่าถึงความใหญ่โตของชาละวันว่า เวลามันอวดศักดาลอยตัวปริ่มน้ำขวางคลอง ลำตัวของมันจะยาวคับคลองคือหัวอย

วัดหัวดง อ.เมืองพิจิตร

       ลักษณะเด่น วัดเก่าแก่อายุนับร้อยปี สร้างเมื่อ พ.ศ. 2413 ผูกพัทธสีมาครั้งแรก พ.ศ. 2468 ความน่าสนใจอยู่ที่การค้นพบพระรูปเหมือนหลวงพ่อเงินขนาดหน้าตักกว้าง 5 นิ้ว เนื้อนวโลหะ (ทองเหลือ) ที่แทรกขึ้นมาบริเวณต้นอินทนิล เมื่อวันที่ 17 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ซึ่งหลวงพ่อเงินนั้นเป็นพระเกจิอาจารย์ที่ประชาชนทั่วไปรู้จักและเคารพนับถือเป็นจำนวนมาก และจากนั้นมาวัดแห่งนี้ก็เป็นที่รู้จักของชาวพิจิตร มีผู้คน

วัดโรงช้าง อ.เมืองพิจิตร

       ลักษณะเด่น "วัดโรงช้าง" วัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อสมัยพระยาโคตรบองขึ้นครองราชย์ เดิมเรียกที่แห่งนี้ว่า กองช้าง เพราะเป็นที่พักของกองช้าง ต่อมาเรียกเพี้ยนกันเป็น คลองช้าง กระทั่งทางราชการได้เปิดโรงเรียนประชาบาลขึ้นที่วัด จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดโรงช้าง สิ่งที่น่าชมของวัดนี้อยู่ที่พระพุทธรูปใหญ่กลางแจ้ง 3 องค์ เป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย ปางห้ามญาติ และปางไสยาสน์ รวมทั้งเจดีย์องค์ใหญ่ของวัดซึ

วัดฆะมัง จ.พิจิตร

       ลักษณะเด่น รายละเอียดตำบลฆะมังอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองพิจิตร เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร อยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 มีพื้นที่ประมาณ 64 ตารางกิโลเมตร หรือ 40,000 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลใกล้เคียง ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลท่าหลวง ตำบลบ้านบุ่ง อำเภอเมืองพิจิตร - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลหัวดง ตำบลบ้านบุ่ง อำเภอเมืองพิจิตร - ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลดงป่าคำ อำเภอเมืองพิจิตร - ทิศตะวัน

วัดดงป่าคำ (รอยเสด็จประพาสต้น ร.5)

       ลักษณะเด่น วัดดงป่าคำ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่ 74 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว 6 เส้น 10 วา ติดต่อกับลำคลอง ทิศใต้ยาว 6 เส้น 7 วา ติดต่อกับที่ดินของนายหยิบ เพชรไทย ทิศตะวันออกยาว 1 เส้น 5 วา ติดต่อกับคลองชลประทาน ทิศตะวันตกยาว 3 เส้น 18 วา ติดต่อกับลำคลอง มี น.ส. 3 เลขที่ 735 แสดงกรรมสิทธิ์ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบเรียบ อาคารเสนาสนะต่างๆ คือ ศาลาการเปรียญทรงไทย สร้าง

วัดท่าหลวง จ.พิจิตร

       ลักษณะเด่น วัดท่าหลวง จ.พิจิตรเป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองพิจิตรอายุนับร้อยปี อันเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสนที่มีอายุกว่า 800 ปี ซึ่งหล่อด้วยทองสำริด และมีพุทธลักษณะงามล้ำเกินคำบรรยาย องค์พระมีหน้าตักกว้าง 1.40 เมตร สูง 1.60 เมตร ตามประวัติเล่าว่า พระพิจิตรผู้เป็นเจ้าเมืองอยากได้ พระประธานมาประดิษฐานที่เมืองพิจิตร เมื่อทัพกรุงศรีอยุธยาเดินทางผ่านเมืองเพื่อไ

พิพิธภัณฑ์บ้านดงโฮจิมินห์ พิจิตร

       พิพิธภัณฑ์บ้านดงโฮจิมินห์ พิจิตร ท่านประธานโฮจิมินห์ ได้เคยมาใช้ชีวิตเคลื่อนไหวสร้างแนวร่วมประชาชาติในหมู่บรรดาผู้อพยพชาวเวียดนามในประเทศไทย เพื่อสนับสนุนการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามและการต่อสู้เพื่อเอกราชอย่างยาวนานถึงเกือบสิบปี ซึ่งทางการไทยในสมัยนั้นก็รับรู้ และยังช่วยปกปิด มิให้ท่านประธานฯ และพลพรรค ต้องตกไปอยู่ในเงื้อมมือ ฝรั่งเศส ประเทศเจ้าอาณานิคมในสมัยนั้นซึ่งส่งผลสืบเนื่องให้การสร

อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

       ลักษณะเด่น เชื่อว่าเป็นเมืองพิจิตรเก่าสร้างในสมัยพระยาโคตรบอง  ประมาณปี พ.ศ. ๑๖๐๑ ภายในบริเวณกำแพงเมืองมีพื้นที่ประมาณ ๔๐๐ ไร่เศษ มีลักษณะเป็นเมืองโบราณประกอบด้วยกำแพงเมือง คูเมือง เจดีย์เก่าฯลฯ อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ ๗ กิโลเมตร ตามเส้นทางสายพิจิตร-วังจิก(ทางหลวงหมายเลข ๑๐๖๘) ต่อมาเมื่อ  พ.ศ. ๒๕๒๐ กรมป่าไม้ ได้ดำเนินการจัดตั้ง เป็นสวน รุกขชาติและได้ตั้งชื่อว่า “สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร”  ทำให้

บึงสีไฟ อ.เมืองพิจิตร

       ลักษณะเด่น “บึงสีไฟ” เป็นบึงเก่าแก่ของ จ.พิจิตร เดิมมีเนื้อที่อยู่ประมาณ 3 หมื่นไร่ มีอาณาเขตติดต่อ 4 ตำบล คือ ท่าหลวง คลองคะเชนทร์ โรงช้าง และเมืองเก่า หลังจากมีการสร้างเขื่อนสิริกิติ์ปิดกั้นแม่น้ำน่าน ทำให้มีน้ำในบึงน้อยลง น้ำที่เคยไหลเข้าสู่บึงสีไฟในฤดูฝนก็หมดไป ทำให้พื้นที่โดยรอบถูกบุกรุกเป็นพื้นที่การเกษตรและที่อยู่อาศัย กระทั่งปี 2521 กรมประมงได้ทำการบูรณะบึงสีไฟโดยการสร้างคันดินขึ้นโดยร